Big Question (คำถามหลัก) : ทำไมมนุษย์ต้องฆ่ากันเอง?
ภูมิหลังของปัญหา:
มนุษย์ถือเป็นสิ่งมีชีวิตที่มีวิวัฒนาการขั้นสูง
มีสมองขนาดใหญ่และซับซ้อนกว่าสัตว์ชนิดอื่น ด้วยเหตุนี้
มนุษย์จึงมักยกตัวเองให้สูงส่งกว่าสัตว์ชนิดใดๆ บนโลก
มนุษย์รู้จักการสร้างที่อยู่อาศัย เมือง รวมตัวใหญ่ขึ้นเป็นสังคมและประเทศ
สร้างระบบความคิด ความเชื่อ รวมถึงภาษา ตลอดจนวัฒนธรรมประเพณีของกลุ่ม แต่ธรรมชาติของมนุษย์ต้องการความมั่นคง
ความรู้สึกว่าเป็นส่วนหนึ่งของสังคม เมื่อมนุษย์อยู่รวมกัน
ติดต่อสัมพันธ์กัน ปัญหามักจะเกิดขึ้นตามมา ทั้งจากความคิดต่าง ศาสนาความเชื่อ
เชื้อชาติ การเมืองการปกครอง
แต่แทนที่จะแก้ปัญหาข้อขัดแย้งอย่างสันติ
บางครั้งมนุษย์กลับเลือกใช้วิธีที่รุนแรง
ทำลายล้างซึ่งกันและกันเพื่อยุติปัญหานั้น และเหตุการณ์เหล่านี้เกิดขึ้นซ้ำๆ
ทั้งสาเหตุและผล เปลี่ยนเพียงแค่ตัวบุคคลเท่านั้น
ดังนั้น จึงจำเป็นที่นักเรียนจะต้องเรียนรู้สิ่งเหล่านี้
ที่ไม่ใช่เหตุผลที่เราต้องเรียนประวัติศาสตร์เพื่อแค่รู้ จำชื่อบุคคล
หรือปีที่เกิดได้ แต่เพื่อป้องกันไม่ให้ประวัติศาสตร์เกิดขึ้นซ้ำรอยอีก
รวมทั้งสามารถอยู่ร่วมกันในสังคมปัจจุบันได้เป็นอย่างดี
เป้าหมายความเข้าใจ (Understanding goals):
เข้าใจและมองเห็นความสัมพันธ์ของการกระทำที่ส่งผลต่อเหตุการณ์ที่เกิดจากการทำสงคราม
การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ที่เกิดขึ้นตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
มีทักษะการคิดและการจัดการข้อมูลต่างๆ รวมทั้งเห็นคุณค่าของตนเองและผู้อื่น
เคารพในความเป็นมนุษย์โดยเท่าเทียมกัน และอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างสันติ
ตารางความสัมพันธ์
Core Subject
หน่วย : “ทุ่งสังหาร”
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2/2559
สุขภาพ
|
เศรษฐศาสตร์และการประกอบการ
|
สิ่งแวดล้อม
|
หน้าที่พลเมือง
|
- สุขภาวะที่ดีส่งเสริมสุขภาพที่ดีด้วย
- การออกกำลังกายเป็นองค์ประกอบหนึ่งของการมีสุขภาพที่ดี
-
|
-
การผลิตสินค้าและบริการ
-
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการผลิตสินค้าและบริการ
-
การแข่งขันทางด้านเศรษฐกิจในถูมิภาคเอเชีย
-
ปัญหาการทางธุรกิจ
และกฎหมายที่เกี่ยวข้องเหตุการณ์ในอดีต
- การจัดการ การเพิ่มมูลค่าสินค้า
|
- ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
- มีกระบวนการผลิตที่ทำลายสิ่งแวดล้อม
ไม่มีการกำจัดขยะหรือของเสียที่เป็นพิษ ขาดการจัดการที่ดี
-
สภาภาพปัญหาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรในท้องถิ่นที่ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ในอดีต
-
แหล่งทรัพยากรธรรมชาติน้อยลง ทำให้มนุษย์ต้องมีอุตสาหกรรมมารองรับและทำให้เกิดมลพิษ
และผลกระทบอื่นๆ ตามมา
|
-
ซื่อสัตย์สุจริต ขยันหมั่นเพียร อดทน
ใฝ่หาความรู้ ตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ ยอมรับผลที่เกิดจากการกระทำของตนเอง
-
เคารพ และอยู่ร่วมกันในสังคมแห่งความหลากหลายได้
-
การจัดการความขัดแย้งและสร้างสันติวิธีในการอยู่ร่วมกัน
-
มารยาทไทย (การแสดงความเคารพ
การสนทนา การแต่งกาย การมีสัมมาคารวะ)
-
ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ เสียสละ และรับผิดชอบต่อสังคม
-
ขนบธรรมเนียม ประเพณี ศิลปวัฒนธรรม
และภูมิปัญญาไทย
|
ปฏิทินแผนจัดกิจกรรมหน่วยการเรียนรู้บูรณาการ
(PBL) หน่วย ทุ่งสังหาร
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 Quarter 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
1
|
โจทย์
วางแผนออกแบบการเรียนรู้
Key
Questions
-
นักเรียนได้เรียนรู้อะไรจากเรื่องที่ได้ดู
-
นักเรียนต้องการเรียนรู้เรื่องอะไร
-
นักเรียนคิดว่าหัวข้อหน่วย ที่น่าสนใจควรเป็นอย่างไร
เครื่องมือคิด
Show and
Share
ชักเย่อความคิด
Card &
Chart
Think
Pair Share
Blackboard
Share
Brainstorms
Mind
Mapping
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศในห้องเรียน
- ห้องเรียน
- หนังเรื่อง Life is Beautiful
- อุปกรณ์ทำกิจกรรมชักเย่อความคิด
- ภาพสะเทือนใจ (ภาพเด็กหญิงชาวเวียดนามในสงคราม)
- กระดาษชาร์ต
|
-
ครูเปิดหนังเรื่อง Life is
beautiful
-
นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็น (ได้เรียนรู้อะไร รู้สึกอย่างไร
และเกี่ยวข้องกับตัวเองอย่างไร)
- ครูให้นักเรียนดูภาพสะเทือนใจจำนวน 10 ภาพ (ตัวอย่าง: ภาพเด็กหญิงชาวเวียดนามในสงคราม)
- ครูและนักเรียนร่วมพูดคุยเกี่ยวกับสิ่งที่ได้ดู
-
ชักเย่อความคิด โจทย์“เราจะทำอย่างไรเมื่อต้องอยู่ในสถานการณ์ที่สังคมวุ่นวาย
ทำร้ายซึ่งกันและกัน” (วิธีการคิดบวกหรือวิธีการคิดเพิกเฉย)
- ครูและนักเรียนร่วมพูดคุยเกี่ยวกับสิ่งที่ได้ดู
- ให้นักเรียนเลือกสิ่งที่อยากเรียนรู้ใน Quarter นี้
- ครูแจกกระดาษแผ่นเล็กๆให้นักเรียนแต่ละคน
ให้เขียนเรื่องที่อยากเรียนรู้ ในรูปแบบ Card & Chart
- ครูและนักเรียนจัดหมวดหมู่เรื่องที่ต้องการศึกษาร่วมกัน
- นักเรียนแต่ละคนร่วมแสดงความคิดเห็น
และร่วมกันตั้งชื่อหัวข้อหน่วย ในรูปแบบ Blackboard Share
- นักเรียนเขียนสิ่งที่รู้และสิ่งที่อยากเรียนรู้และรวมรวบความคิดร่วมกัน
ในรูปแบบ Think Pair Share
- ครูและนักเรียนร่วมกันนำสิ่งที่อยากเรียนรู้มาออกแบบปฏิทินการเรียนรู้ในกระดาษชาร์ตแผ่นใหญ่
- นักเรียนแต่ละคนเขียนสรุปองค์ความรู้ก่อนเรียนรู้ในรูปแบบ Mind Mapping
- นักเรียนแต่ละคนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
- วิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับหนังที่ได้ดู
- วิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับภาพสะเทือนใจ
-
ร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเลือกหัวข้อโครงงานและออกแบบปฏิทินการเรียนรู้
- ดูภาพสะเทือนใจจำนวน 10 ภาพ แล้วให้แสดงความรู้สึกจากภาพที่ได้ดู
- บันทึกสิ่งที่ได้เรียนรู้ลงสมุด
ชิ้นงาน
-
หัวข้อโครงงาน
-
สิ่งที่รู้แล้วและอยากรู้เกี่ยวกับหัวข้อหน่วย
- ปฏิทินการเรียนรู้
- Mind Mapping สรุปองค์ความรู้ก่อนการเรียนรู้
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
-สมุดบันทึกสิ่งที่ได้เรียนรู้
|
ความรู้
เข้าใจกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันเกี่ยวกับเรื่องที่อยากเรียนรู้ พร้อมทั้งให้เหตุผลประกอบได้
ทักษะ:
ทักษะชีวิต
ทักษะการเรียนรู้
การวางแผนการทำงาน
คุณลักษณะ
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- การเคารพยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- กล้าแสดงความคิดเห็น
- เห็นคุณค่าของตนเองและผู้อื่น เคารพในความเป็นมนุษย์โดยเท่าเทียมกัน
|
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
2
|
โจทย์
ศึกษาประวัติศาสตร์
Key Questions
- นักเรียนได้เรียนรู้อะไรจากเรื่องที่ได้ดู
- นักเรียนคิดว่าประวัติศาสตร์ (ประเทศที่มีการสังหารหมู่)
แต่ละประเทศในแต่ละทวีปมีที่มาอย่างไร
เครื่องมือคิด
Show and
Share
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
ครู/นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศในห้องเรียน
- ห้องเรียน
- หนังเรื่อง Hotel Rwanda
- หนัง และหนังสือเกี่ยวกับเหตุการณ์ที่นักเรียนแต่ละกลุ่มไปศึกษา
- คลิปเหตุการณ์ความขัดแย้งในไทย
- อินเตอร์เน็ต
|
-
ครูเปิดหนังเรื่อง
- นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็น (ได้เรียนรู้อะไร รู้สึกอย่างไร
และเกี่ยวข้องกับตัวเองอย่างไร)
- ครูพูดเชื่อมโยงเหตุการณ์สังหารหมู่ของแต่ละประเทศในแต่ละทวีป คือ
อเมริกา (ชนเผ่าอินเดียนแดง)
กัมพูชา (เขมรแดง)
ระวันดา (ชนเผ่าฮูตู-ตุ๊ดซี่)
จีน (เมืองนานกิง)
เยอรมัน (ฮิตเลอร์-ยิว)
ออสเตรเลีย (ชนเผ่าอะบอริจิน)
- ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนให้เลือกค้นคว้าตามความสนใจ
(ให้หนังและหนังสือไปศึกษาเพิ่มเติม)
- นักเรียนร่วมอภิปรายประวัติศาสตร์ของแต่ละเหตุการณ์ และทำ Timeline ของแต่ละประเทศ
- นักเรียนเชื่อมโยงสิ่งที่ได้เรียนผ่านเครื่องมือแสดงความรู้สึกร่วม
(เขียนคำอุทิศ, แต่งบทกวี บทประพันธ์ เพลง, เขียนจดหมาย, ใช้โวหารภาพพจน์)
- ครูให้โจทย์นักเรียนไปศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ในอดีตที่ส่งผลต่อการเมืองการปกครองในปัจจุบัน(Flipped
Classroom)
|
ภาระงาน
- การวิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับหนังที่ได้ดู
-สืบค้นข้อมูลและนำเสนอเกี่ยวกับประวัติศาสตร์เหตุการณ์สังหารหมู่ของแต่ละประเทศ
-
วิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเหตุการณ์ความขัดแย้งในไทย
- เขียน Timeline สรุประวัติศาสตร์ของแต่ละประเทศ
- เขียนผ่านเครื่องมือแสดงความรู้สึกร่วม
- บันทึกสิ่งที่ได้เรียนรู้ลงสมุด
ชิ้นงาน
- Timeline สรุประวัติศาสตร์ของแต่ละประเทศ
- เครื่องมือแสดงความรู้สึกร่วม
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
-สมุดบันทึกสิ่งที่ได้เรียนรู้
|
ความรู้
เข้าใจประวัติศาสตร์
(ประเทศที่มีการสังหารหมู่) แต่ละประเทศในแต่ละทวีป
ทักษะ:
ทักษะชีวิต
ทักษะการเรียนรู้
ทักษะการวางแผน
ทักษะการสื่อสาร
คุณลักษณะ
- การเคารพยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- กล้าแสดงความคิดเห็น
- สร้างสรรค์และสรุปสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้จากกระบวนการเรียนรู้
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- เห็นคุณค่าของตนเองและผู้อื่น เคารพในความเป็นมนุษย์โดยเท่าเทียมกัน
|
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
3
|
โจทย์
ศึกษาประวัติศาสตร์
KeyQuestions
- นักเรียนคิดว่าเหตุการณ์ในอดีตที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงด้านการเมืองการปกครองในปัจจุบันอย่างไร
- นักเรียนคิดว่า เหตุการณ์ความขัดแข้งในไทยหลายๆ
ครั้งส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงด้านการเมืองการปกครองในปัจจุบันอย่างไร
เครื่องมือคิด
Show and
Share
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
ครู/นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
-บรรยากาศในห้องเรียน
- ห้องเรียน
- อินเตอร์เน็ต
|
- ครูเปิดคลิปเหตุการณ์ความขัดแย้งในไทย (14 ต.ค. 2516,
6 ต.ค. 2519, พฤษภาทมิฬ)
- นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็น (ได้เรียนรู้อะไร รู้สึกอย่างไร
และเกี่ยวข้องกับตัวเองอย่างไร)
- ครูและนักเรียนพูดคุยแลกเปลี่ยนร่วมกันเรื่องการแปรเปลี่ยนความขัดแย้ง
ในรูปแบบ Round Robin
- ครูและนักเรียนพูดคุยแลกเปลี่ยนร่วมกันเกี่ยวกับปัญหาและวิธีแก้ปัญหาความขัดแย้งในบ้านและชุมชนของนักเรียน
ในรูปแบบ Round Robin
- นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมอภิปรายผลกระทบของเหตุการณ์ในอดีตที่ส่งผลต่อเปลี่ยนแปลงด้านการเมือง
การปกครองของแต่ละประเทศในปัจจุบัน
- นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็น (ได้เรียนรู้อะไร รู้สึกอย่างไร
และเกี่ยวข้องกับตัวเองอย่างไร
- นักเรียนเชื่อมโยงสิ่งที่ได้เรียนผ่านเครื่องมือแสดงความรู้สึกร่วม
(เขียนคำอุทิศ, แต่งบทกวี บทประพันธ์ เพลง, เขียนจดหมาย, ใช้โวหารภาพพจน์)
- โจทย์ใหม่: ครูเล่าเรื่องค่าเงินตกต่ำของประเทศซิมบับเว,อาร์เจนตินา
- นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็น
(ได้เรียนรู้อะไร รู้สึกอย่างไร
และเกี่ยวข้องกับตัวเองอย่างไร
- ครูให้โจทย์นักเรียนไปศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ในอดีตที่ส่งผลต่อระบบเศรษฐกิจในปัจจุบัน(Flipped
Classroom)
- นักเรียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
- สืบค้นข้อมูลและนำเสนอเกี่ยวกับเหตุการณ์สังหารหมู่ที่ส่งผลต่อเปลี่ยนแปลงด้านการเมืองการปกครองของแต่ละประเทศในปัจจุบัน
- เขียนผ่านเครื่องมือแสดงความรู้สึกร่วม
- บันทึกสิ่งที่ได้เรียนรู้ลงสมุด
ชิ้นงาน
- เครื่องมือแสดงความรู้สึกร่วม
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
-สมุดบันทึกสิ่งที่ได้เรียนรู้
|
ความรู้
- เข้าใจประวัติศาสตร์
สาเหตุ และบุคคลสำคัญที่อยู่ในแต่ละเหตุการณ์การสังหารหมู่/ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์
ทักษะ:
ทักษะชีวิต
ทักษะการเรียนรู้
ทักษะการวางแผน
ทักษะการสื่อสาร
คุณลักษณะ
- การเคารพยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- กล้าแสดงความคิดเห็น
- สร้างสรรค์และสรุปสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้จากกระบวนการเรียนรู้
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- เห็นคุณค่าของตนเองและผู้อื่น เคารพในความเป็นมนุษย์โดยเท่าเทียมกัน
|
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
4
|
โจทย์
เหตุการณ์ในอดีตที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงด้านการเมืองการปกครองในปัจจุบัน
KeyQuestions
- นักเรียนคิดว่าเหตุการณ์ในอดีตที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงด้านการเมืองการปกครองในปัจจุบันอย่างไร
- นักเรียนคิดว่า ปัญหาค่าเงินตกต่ำของประเทศซิมบับเว, อาร์เจนติน่าส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงด้านระบบเศรษฐกิจในปัจจุบัน
อย่างไร
เครื่องมือคิด
Show and
Share
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
ครู/นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
-บรรยากาศในห้องเรียน
- ห้องเรียน
- อินเตอร์เน็ต
|
- ครูและนักเรียนพูดคุยแลกเปลี่ยนร่วมกันเรื่องการแปรเปลี่ยนความขัดแย้ง
ในรูปแบบ Round Robin
- ครูและนักเรียนพูดคุยแลกเปลี่ยนร่วมกันเกี่ยวกับปัญหาและวิธีแก้ปัญหาความขัดแย้งในบ้านและชุมชนของนักเรียน
ในรูปแบบ Round Robin
- นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมอภิปรายผลกระทบของเหตุการณ์ในอดีตที่ส่งผลต่อเปลี่ยนแปลงด้านการเมือง
การปกครองของแต่ละประเทศในปัจจุบัน
- นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็น (ได้เรียนรู้อะไร รู้สึกอย่างไร
และเกี่ยวข้องกับตัวเองอย่างไร
- นักเรียนเชื่อมโยงสิ่งที่ได้เรียนผ่านเครื่องมือแสดงความรู้สึกร่วม
(เขียนคำอุทิศ, แต่งบทกวี บทประพันธ์ เพลง, เขียนจดหมาย, ใช้โวหารภาพพจน์)
- โจทย์ใหม่: ครูเล่าเรื่องค่าเงินตกต่ำของประเทศซิมบับเว,อาร์เจนตินา
- นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็น (ได้เรียนรู้อะไร รู้สึกอย่างไร
และเกี่ยวข้องกับตัวเองอย่างไร
- ครูให้โจทย์นักเรียนไปศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ในอดีตที่ส่งผลต่อระบบเศรษฐกิจในปัจจุบัน(Flipped
Classroom)
- นักเรียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
- สืบค้นข้อมูลและนำเสนอเกี่ยวกับเหตุการณ์สังหารหมู่ที่ส่งผลต่อเปลี่ยนแปลงด้านการเมืองการปกครองของแต่ละประเทศในปัจจุบัน
-
วิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับปัญหาค่าเงินตกต่ำ
- เขียนผ่านเครื่องมือแสดงความรู้สึกร่วม
- บันทึกสิ่งที่ได้เรียนรู้ลงสมุด
ชิ้นงาน
- เครื่องมือแสดงความรู้สึกร่วม
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
-สมุดบันทึกสิ่งที่ได้เรียนรู้
|
ความรู้
เข้าใจเหตุการณ์ในอดีตที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงด้านการเมืองการปกครองในปัจจุบัน
ทักษะ:
ทักษะชีวิต
ทักษะการเรียนรู้
ทักษะการวางแผน
ทักษะการสื่อสาร
คุณลักษณะ
- การเคารพยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- กล้าแสดงความคิดเห็น
- สร้างสรรค์และสรุปสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้จากกระบวนการเรียนรู้
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- เห็นคุณค่าของตนเองและผู้อื่น เคารพในความเป็นมนุษย์โดยเท่าเทียมกัน
|
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
5
|
โจทย์
เหตุการณ์ในอดีตที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงด้านวัฒนธรรม
ภาษา และความเชื่อในปัจจุบัน
Key
Questions
- นักเรียนคิดว่าเหตุการณ์ในอดีตที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงด้านวัฒนธรรม
ภาษา และความเชื่อในปัจจุบันอย่างไร
- นักเรียนคิดว่า อะไรคือสาเหตุของเหตุการณ์หนังสือต้องห้ามในไทย
การไม่ไว้ใจคนมีการศึกษาในเหตุการณ์เขมรแดง และฮิตเลอร์กับชาวยิว
เครื่องมือคิด
Show and
Share
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
ครู/นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
-บรรยากาศในห้องเรียน
- ห้องเรียน
- ตัวอย่างหนังสือต้องห้าม
- อินเตอร์เน็ต
|
- นักเรียนร่วมอภิปรายผลกระทบของเหตุการณ์ในอดีตที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงด้านวัฒนธรรม
ภาษา และความเชื่อของแต่ละประเทศในปัจจุบัน
- นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็น (ได้เรียนรู้อะไร รู้สึกอย่างไร
และเกี่ยวข้องกับตัวเองอย่างไร
- นักเรียนเชื่อมโยงสิ่งที่ได้เรียนผ่านเครื่องมือแสดงความรู้สึกร่วม (เขียนคำอุทิศ,
แต่งบทกวี บทประพันธ์ เพลง, เขียนจดหมาย,
ใช้โวหารภาพพจน์)
- โจทย์ใหม่: ครูเล่าเกี่ยวกับการใช้การศึกษาเป็นตัวกีดกันมนุษย์ด้วยกันในการมีสิทธิการเข้ารับการศึกษา
การทำงาน หรือการมีชีวิตที่ดี
(หนังสือต้องห้ามในไทยการไม่ไว้ใจคนมีการศึกษาในเหตุการณ์เขมรแดง
และฮิตเลอร์กับชาวยิว)
- นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็น (ได้เรียนรู้อะไร รู้สึกอย่างไร
และเกี่ยวข้องกับตัวเองอย่างไร
- ครูให้โจทย์นักเรียนไปศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ในอดีตที่ส่งผลต่อการศึกษาในปัจจุบัน(Flipped
Classroom)
- นักเรียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
-สืบค้นข้อมูลและนำเสนอเกี่ยวกับเหตุการณ์สังหารหมู่ที่ส่งผลต่อเปลี่ยนแปลงด้านวัฒนธรรม
ภาษา และความเชื่อของแต่ละประเทศในปัจจุบัน
-
วิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการใช้การศึกษาเป็นตัวกีดกันมนุษย์ด้วยกัน
- เขียนผ่านเครื่องมือแสดงความรู้สึกร่วม
- บันทึกสิ่งที่ได้เรียนรู้ลงสมุด
ชิ้นงาน
- เครื่องมือแสดงความรู้สึกร่วม
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
-สมุดบันทึกสิ่งที่ได้เรียนรู้
|
ความรู้
เข้าใจเหตุการณ์ในอดีตที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงด้านวัฒนธรรม
ภาษา และความเชื่อในปัจจุบัน
ทักษะ:
ทักษะชีวิต
ทักษะการเรียนรู้
ทักษะการวางแผน
ทักษะการสื่อสาร
คุณลักษณะ
- การเคารพยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- กล้าแสดงความคิดเห็น
- สร้างสรรค์และสรุปสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้จากกระบวนการเรียนรู้
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- เห็นคุณค่าของตนเองและผู้อื่น เคารพในความเป็นมนุษย์โดยเท่าเทียมกัน
|
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
6
|
โจทย์
เหตุการณ์ในอดีตที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงด้านระบบเศรษฐกิจในปัจจุบัน
- เศรษฐศาสตร์และการประกอบการ
Key
Questions
- นักเรียนคิดว่าเหตุการณ์ในอดีตที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงด้านระบบเศรษฐกิจในปัจจุบันอย่างไร
- นักเรียนคิดว่า การล่มสลายของวัฒนธรรมโบราณ (อียิปต์, โรมัน, มายา) ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงด้านวัฒนธรรม
ภาษา และความเชื่อในปัจจุบัน
อย่างไร
เครื่องมือคิด
Show and
Share
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
ครู/นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
-บรรยากาศในห้องเรียน
- ห้องเรียน
- ใบความรู้
- อินเตอร์เน็ต
|
- นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมอภิปรายผลกระทบของเหตุการณ์ในอดีตที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงด้านระบบเศรษฐกิจของแต่ละประเทศในปัจจุบัน
- นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็น (ได้เรียนรู้อะไร รู้สึกอย่างไร
และเกี่ยวข้องกับตัวเองอย่างไร
- นักเรียนเชื่อมโยงสิ่งที่ได้เรียนผ่านเครื่องมือแสดงความรู้สึกร่วม
(เขียนคำอุทิศ, แต่งบทกวี บทประพันธ์ เพลง, เขียนจดหมาย, ใช้โวหารภาพพจน์)
- โจทย์ใหม่:นักเรียนศึกษาใบความรู้เรื่องล่มสลายของวัฒนธรรมโบราณ
(อียิปต์, โรมัน, มายา)
- นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็น (ได้เรียนรู้อะไร รู้สึกอย่างไร
และเกี่ยวข้องกับตัวเองอย่างไร
- ครูให้โจทย์นักเรียนไปศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ในอดีตที่ส่งผลต่อวัฒนธรรม
ภาษา และความเชื่อในปัจจุบัน(Flipped Classroom)
- นักเรียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
-สืบค้นข้อมูลและนำเสนอเกี่ยวกับเหตุการณ์สังหารหมู่ที่ส่งผลต่อเปลี่ยนแปลงด้านระบบเศรษฐกิจของแต่ละประเทศในปัจจุบัน
-
วิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการล่มสลายของวัฒนธรรมโบราณ
- เขียนผ่านเครื่องมือแสดงความรู้สึกร่วม
- บันทึกสิ่งที่ได้เรียนรู้ลงสมุด
ชิ้นงาน
- เครื่องมือแสดงความรู้สึกร่วม
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
-สมุดบันทึกสิ่งที่ได้เรียนรู้
|
ความรู้
เข้าใจเหตุการณ์ในอดีตที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงด้านการเมืองการปกครองในปัจจุบัน
ทักษะ:
ทักษะชีวิต
ทักษะการเรียนรู้
ทักษะการวางแผน
ทักษะการสื่อสาร
คุณลักษณะ
- การเคารพยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- กล้าแสดงความคิดเห็น
- สร้างสรรค์และสรุปสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้จากกระบวนการเรียนรู้
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- เห็นคุณค่าของตนเองและผู้อื่น เคารพในความเป็นมนุษย์โดยเท่าเทียมกัน
|
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
7
|
โจทย์
เหตุการณ์ในอดีตที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงด้านสิ่งแวดล้อมในปัจจุบัน
Key
Questions
- นักเรียนคิดว่าปัจจัยในอดีตส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงด้านสิ่งแวดล้อมในปัจจุบันอย่างไร
เครื่องมือคิด
Show and
Share
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
ครู/นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
-บรรยากาศในห้องเรียน
- ห้องเรียน
- อินเตอร์เน็ต
|
- ครูเปิดคลิปเหตุการณ์สงครามฝนเหลืองในเวียดนาม
- นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็น (ได้เรียนรู้อะไร รู้สึกอย่างไร และเกี่ยวข้องกับตัวเองอย่างไร)
- นักเรียนดูข้อมูลเกี่ยวกับการใช้ทรัพยากร และสิ่งแวดล้อม http://www.worldometers.info/th/
- นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์ปัจจัยในอดีตส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงด้านสิ่งแวดล้อมในปัจจุบัน
- นักเรียนร่วมอภิปรายผลกระทบของเหตุการณ์ในอดีตที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงด้านสิ่งแวดล้อมของแต่ละประเทศในปัจจุบัน
- นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็น
(ได้เรียนรู้อะไร รู้สึกอย่างไร
และเกี่ยวข้องกับตัวเองอย่างไร
- นักเรียนเชื่อมโยงสิ่งที่ได้เรียนผ่านเครื่องมือแสดงความรู้สึกร่วม
(เขียนคำอุทิศ, แต่งบทกวี บทประพันธ์ เพลง, เขียนจดหมาย, ใช้โวหารภาพพจน์)
- นักเรียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
-สืบค้นข้อมูลและนำเสนอเกี่ยวกับเหตุการณ์สังหารหมู่ที่ส่งผลต่อเปลี่ยนแปลงด้านสิ่งแวดล้อมของแต่ละประเทศในปัจจุบัน
- เขียนผ่านเครื่องมือแสดงความรู้สึกร่วม
- บันทึกสิ่งที่ได้เรียนรู้ลงสมุด
ชิ้นงาน
- เครื่องมือแสดงความรู้สึกร่วม
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
-สมุดบันทึกสิ่งที่ได้เรียนรู้
|
ความรู้
เข้าใจเหตุการณ์ในอดีตที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงด้านสิ่งแวดล้อมในปัจจุบัน
ทักษะ:
ทักษะชีวิต
ทักษะการเรียนรู้
ทักษะการวางแผน
ทักษะการสื่อสาร
คุณลักษณะ
- การเคารพยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- กล้าแสดงความคิดเห็น
- สร้างสรรค์และสรุปสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้จากกระบวนการเรียนรู้
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- เห็นคุณค่าของตนเองและผู้อื่น เคารพในความเป็นมนุษย์โดยเท่าเทียมกัน
|
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
8
|
โจทย์
- มุมมองความขัดแย้งระหว่างประเทศไทยและประเทศเพื่อนบ้าน
Key
Questions
- นักเรียนคิดว่า
เหตุการณ์สังหารหมู่ทุกเหตุการณ์ที่เรียนสอนอะไรเราบ้าง
เครื่องมือคิด
Show and
Share
Round Robin
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
ครู/นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
-บรรยากาศในห้องเรียน
- ห้องเรียน
- กระดาษ/คอมพิวเตอร์
|
- ครูให้นักเรียนดูคลิปหนังเรื่องตำนานสมเด็จพระนเรศวร
และก้านกล้วย
(บางตอน)
- นักเรียนวิเคราะห์และแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับหนังที่ได้ดูในรูปแบบ Round Robin
- ครูและนักเรียนพูดคุยแลกเปลี่ยนร่วมกันเกี่ยวกับความรู้สึกต่อประเทศเพื่อนบ้าน
ในรูปแบบ Round Robin
- ครูแบ่งนักเรียนออกเป็น 3 กลุ่ม
และเลือกค้นคว้าเกี่ยวกับมุมมองของคนไทยต่อประเทศเพื่อนบ้าน ดังนี้
- ลาว (เจ้าอนุวงศ์)
- พม่า
(เสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2)
- กัมพูชา
(ประสาทเขาพระวิหาร)
- นักเรียนแต่ละกลุ่มสืบค้น
ศึกษาข้อมูล และบันทึกลงในสมุดเล่มเล็ก
- นักเรียนแต่ละกลุ่มแลกเปลี่ยนนำเสนอความคืบหน้าและศึกษาเพิ่มเติม
- นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอเรื่องที่ศึกษา
คือ มุมมองของไทยต่อประเทศเพื่อนบ้าน
- ครูและนักเรียนพูดคุยแลกเปลี่ยนร่วมกัน
ในรูปแบบ Round Robin
- ครูและนักเรียนพูดคุยแลกเปลี่ยนร่วมกันเกี่ยวกับในการที่จะเปิดประชาคมอาเซียนเร็วๆ
นี้ มุมมองต่อประเทศเพื่อนบ้านของไทย จะส่งผลดี
ผลเสียต่อประชาคมและกับประเทศไทยหรือไม่ อย่างไร ในรูปแบบ Round
Robin
- ครูให้นักเรียนอ่านบทความมุมมองใหม่ต่อพม่าในช่วงการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2
- ครูและนักเรียนพูดคุยแลกเปลี่ยนร่วมกันเกี่ยวกับบทความที่อ่าน
ในรูปแบบ Round Robin
- นักเรียนเขียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
-เขียนบทความเชื่อมโยงเรื่องที่ศึกษากับตนเอง
- บันทึกสิ่งที่ได้เรียนรู้ลงสมุด
ชิ้นงาน
- บทความเชื่อมโยงเรื่องที่ศึกษากับตนเอง
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
-สมุดบันทึกสิ่งที่ได้เรียนรู้
|
ความรู้
เข้าใจมุมมองความขัดแย้งระหว่างประเทศไทยและประเทศเพื่อนบ้าน
ทักษะ:
ทักษะชีวิต
ทักษะการเรียนรู้
ทักษะการวางแผน
ทักษะการสื่อสาร
คุณลักษณะ
- การเคารพยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- กล้าแสดงความคิดเห็น
- สร้างสรรค์และสรุปสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้จากกระบวนการเรียนรู้
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- เห็นคุณค่าของตนเองและผู้อื่น เคารพในความเป็นมนุษย์โดยเท่าเทียมกัน
|
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
9 - 10
|
โจทย์
ถ่ายทอดความเข้าใจเรื่องที่ศึกษาในรูปแบบการแสดงละคร
Key
Questions
- นักเรียนจะนำเสนอสิ่งที่ได้เรียนรู้ในรูปแบบการแสดงละครได้อย่างไร
เครื่องมือคิด
Brainstorms
Show and
Share
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
ครู/นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
-บรรยากาศในห้องเรียน
- ห้องเรียน
|
- ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด “จากที่ได้เรียนมาตลอดทั้ง Quarter นักเรียนมีความรู้สึก
เชื่อมโยงกับตนเองอย่างไร?”
- นักเรียนแต่ละคนสร้างชิ้นงานที่แสดง
ออกถึงความรู้สึกร่วมในรูปแบบการเขียนบทความ
- นักเรียนพูดคุยแลกเปลี่ยนร่วมกัน ออกแบบรูปแบบในการนำเสนอ ในรูปแบบ Brainstorm
- ครูให้โจทย์นักเรียนทั้งห้องร่วมกันออกแบบการนำเสนอเรื่องที่ศึกษาและเรียนรู้ตลอด 1
Quarter
-ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด “นักเรียนคิดว่า ประเทศไทย และโลกมีประชากรเท่าไร?”
- นักเรียนพูดคุยแลกเปลี่ยนร่วมกัน
ในรูปแบบ Round Robin
- ครูให้นักเรียนดูข้อมูลโลกในปัจจุบันแบบReal
time จากเว็บไซต์ http://www.worldometers.info/ ได้แก่
ข้อมูลจำนวนประชากร จำนวนคนเกิด คนตาย ปริมาณการใช้น้ำ น้ำมัน การตัดใช้ทำลายป่า
เป็นต้น
- ครูและนักเรียนพูดคุยแลกเปลี่ยนร่วมกันเกี่ยวกับข้อมูลที่ได้รับ
ในรูปแบบ Round Robin
- นักเรียนสรุปความคิดเห็นของตัวเอง
ในรูปแบบ Infographic
- นักเรียนร่วมสรุปข้อมูลอีกครั้งเพื่อทบทวนความเข้าใจเกี่ยวกับการเรียนรู้
- นักเรียนร่วมออกแบบรูปแบบการนำเสนอสิ่งที่ได้เรียนรู้
- นักเรียนแต่ละกลุ่มแลกเปลี่ยนนำเสนอความคืบหน้าและศึกษาเพิ่มเติม
-
นักเรียนร่วมกันนำเสนอสิ่งที่เรียนรู้ในรูปแบบการแสดงละคร
- นักเรียนสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้หลังเรียน
- นักเรียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
- เตรียมความพร้อมถ่ายความทอดความเข้าใจในรูปแบบละคร
- บันทึกสิ่งที่ได้เรียนรู้ลงสมุด
-ทำ Mind Mapping สรุปการเรียนรู้ทั้ง Quarter
- บันทึกสิ่งที่ได้เรียนรู้ลงสมุด
ชิ้นงาน
- การแสดงละคร
- Mind
Mapping สรุปการเรียนรู้ทั้ง Quarter
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
- สมุดบันทึกสิ่งที่ได้เรียนรู้
|
ความรู้
เข้าใจและมองเห็นความสัมพันธ์ของการกระทำที่ส่งผลต่อเหตุการณ์ที่เกิดจากการทำสงคราม
การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ที่เกิดขึ้นตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
ทักษะ:
ทักษะชีวิต
ทักษะการเรียนรู้
ทักษะการวางแผน
ทักษะการสื่อสาร
คุณลักษณะ
- การเคารพยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- กล้าแสดงความคิดเห็น
- สร้างสรรค์และสรุปสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้จากกระบวนการเรียนรู้
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- เห็นคุณค่าของตนเองและผู้อื่น เคารพในความเป็นมนุษย์โดยเท่าเทียมกัน
|
ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์สาระการเรียนรู้กับมาตรฐานและตัวชี้วัดแต่ละกลุ่มสาระ
หน่วย
: “ทุ่งสังหาร” ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
Quarter
3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559
กิจกรรม
Active learning
|
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
|
||||||
ว 21101
|
ส 21101
|
ส 21102
|
ง 21101
|
พ 21101
|
ศ21101
|
ส21201
|
|
- วิเคราะห์เหตุการณ์สำคัญ
การเมือง / การ-ปกครอง
- วิเคราะห์เหตุการณ์ในอดีตที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงด้านระบบเศรษฐกิจในปัจจุบัน
-วิเคราะห์ การเปลี่ยนแปลงด้านวัฒนธรรม ภาษา
และความเชื่อในปัจจุบัน
- สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้
|
มาตรฐาน
ว 8.1
- สามารถตั้งคำถามจากเรื่องที่สนใจได้อย่างครอบคลุมและน่าเชื่อถือได้
(ว 8.1 ม.2/1)
- สามารถรวบรวมข้อมูลจัดกระทำข้อมูลได้
(ว 8.1 ม.2/4)
- สามารถสร้างคำถามที่นำไปสู่การสำรวจตรวจสอบในเรื่องที่เกี่ยวข้องแล้วนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในสถานการณ์ใหม่ได้ (ว 8.1 ม.2/7)
- สามารถจัดแสดงผลงานการออกแบบปฏิทิน
อธิบายเกี่ยวกับแนวคิดและและกระบวนการทำงานให้ผู้อื่นเข้าใจได้
(ว 8.1 ม.2/9)
|
มาตรฐาน
ส1.1
-
เห็นคุณค่าของการพัฒนาจิตเพื่อการเรียนรู้และการดำเนินชีวิตได้ (ส1.1 ม.2/9)
-
เห็นคุณค่าและวิเคราะห์การปฏิบัติตัวในการพัฒนาตนเพื่อการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
(ส1.1 ม.3/7)
มาตรฐาน
ส1.2
- มีมรรยาทของความเป็น
ศาสนิกชนที่ดี
(ส1.2 ม.2/2)
มาตรฐาน
ส2.2
- สามารถวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสารการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ
ชีวิตความเป็นอยู่ได้
(ส2.2 ม.2/2)
|
มาตรฐาน
ส 4.1
-
วิเคราะห์ความแตกต่างของแต่ละชุมชน
ที่สอดคล้องกับความจริงของเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์
(ส 4.1 ม.2/2)
-
ใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาเรื่องราวต่างๆที่ตนเองสนใจ
(ส 4.1 ม.3/2)
มาตรฐาน ส 4.2
- เปรียบเทียบความ เหมือนและความต่างทางวัฒนธรรมของชุมชนตนเองกับชุมชนอื่นๆ
(ส 4.2 ม.2/1)
|
มาตรฐาน
ง 1.1
- เข้าใจและสามารถใช้ทักษะการแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาการทำงาน
(ง 1.1 ม.2 /1)
- เข้าใจและสามารถใช้กระบวนการแก้ปัญหาในการทำงาน (ง 1.1 ม.2 /2 )
- มีจิตสำนึกในการทำงานและใช้ทรัพยากรในการปฏิบัติงานอย่างคุ้มค่า
(ง 1.1 ม.2 /3 )
- อธิบายวิธีการทำงานเพื่อการดำรงชีวิต
(ง 1.1 ม.4-6 /1 )
-
สามารถสร้างผลงานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์และมีทักษะในการทำงานร่วมกัน (ง 1.1 ม.4-6 /2 )
- มีทักษะในการจัดการทำงาน (ง 1.1 ม.4-6 /3 )
- มีทักษะกระบวนการแก้ปัญหาในการทำงาน
(ง 1.1 ม.4-6 /4 )
- มีทักษะในการแสวงหาความรู้เกี่ยวกับสื่อเพื่อการดำรงชีวิต (ง 1.1 ม.4 /5 )
- มีคุณธรรมและลักษณะนิสัยในการทำงาน
(ง 1.1 ม.4-6 /6 )
|
มาตรฐาน พ 1.1
-
ระบุปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการด้านร่างกายอารมณ์
สังคมและสติปัญญาในวัยรุ่นได้
(พ 1.1 ม.2/2)
มาตรฐาน พ 2.1
- เข้าใจและสามารถอธิบายความสำคัญของการสร้างและรักษาสัมพันธภาพในการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
(พ 2.1 ม.3/1 )
มาตรฐาน พ 3.1
- ใช้ความสามารถของตนเองเพื่อเพิ่มศักยภาพของทีม
คำนึงถึงผลที่เกิดต่อผู้อื่นและชุมชน
(พ 3.1 ม.3/2)
มาตรฐาน พ 3.2
- เลือกเข้าร่วมกิจกรรมออกกำลังกายเล่นกีฬาตามความถนัดพร้อมทั้งวิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างบุคคลเพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาตนเอง (พ 3.2 ม.2/2)
- มีวินัย ปฏิบัติตามกฎกติกา
และข้อตกลงในการเล่นกีฬาที่เลือกได้
(พ 3.2 ม.3/3)
- นำผลในการปฏิบัติในการเล่นกีฬามาสรุปเป็นวิธีที่เหมาะสมกับร่างกายของตนเองด้วยความมุ่งมั่นได้
(พ 3.2 ม.3/5)
|
มาตรฐาน
ศ1.1
- วาดภาพโดยใช้เทคนิคของแสง เงา น้ำหนัก และวรรณะสี
สร้างงานทัศนศิลป์เป็นแผนภาพแผนผังและภาพประกอบเกี่ยวกับเรื่องที่อยากเรียนรู้และสนใจ
เพื่อถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจ (ศ 1.1 ม.2/3)
- สร้างงานทัศนศิลป์
ทั้ง ๒ มิติ และ ๓ มิติเพื่อถ่ายทอดประสบการณ์
และจินตนาการ
(ศ1.1ม.3/6)
- สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์สื่อความหมายเป็นเรื่องราว(ศ1.1ม.3/7)
- สามารถวิเคราะห์ และวิจารณ์ เนื้อหาที่ได้ศึกษา
เช่น จากการดู VDO การรับฟังจากที่ครูผู้สอน ร่วมถึง
ชิ้นงานของตนเองและผู้อื่นได้ (ศ 1.1 ม.3/8)
|
มาตรฐาน
ส2.1
- สามารถอธิบายและปฏิบัติตนตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับตนเอง ครอบครัว ชุมชน
และประเทศ
(ส 2.1 ม.2/1)
- เห็นคุณค่าในการปฏิบัติตาม สถานภาพ บทบาท เสรีภาพ หน้าที่
ในฐานะพลเมืองตามวิถีประชาธิปไตย
(ส 2.1 ม.2/2)
- วิเคราะห์บทบาทและความสัมพันธ์ของสถาบันทางสังคมได้
(ส 2.1 ม.2/3)
- สามารถอธิบายความคล้ายคลึงและความแตกต่างของวัฒนธรรมไทยและต่างประเทศในภูมิภาคเอเชีย
เพื่อนำไปสู่ความเข้าใจอันดีระหว่างกัน
(ส 2.1 ม.2/4)
- สามารถเสนอแนวคิดในการดำรงชีวิตอย่างมีความสุขในประเทศและสังคมโลก
(ส 2.1 ม.3/5)
- สามารถวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสารที่มีผลกระทบต่อสังคมไทยสมัยปัจจุบัน
(ส 2.2 ม.2/2)
|